ใครต้องการเครื่องทำความร้อน?
ในภูมิภาคต่างๆเช่นภาคเหนือของยุโรป คนส่วนใหญ่ต้องการ แต่ประมาณเมื่อ 20 ปีที่แล้ว เริ่มมีเริ่มมีการใช้มาตรฐานอาคารขึ้น มาตรฐานอาคารนี้หมายถึงแม้บ้านจะตกในสภาพอากาศที่เย็นแต่บ้านก็ยังคงทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกอุ่นสบาย โดยที่มีไม่มีความต้องการในการใช้เครื่องทำความร้อน หรือ ต้องการเพียงน้อยนิด
“บ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก” ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1996 โดยสถาบัน Passivhaus เมือง Darmstadt ประเทศเยอรมัน ที่เป็นผู้บุกเบิกสำหรับแนวความคิด ในการสร้างบ้านที่มีการใช้พลังงานต่ำ และถือเป็นผู้นำในการสร้างมาตรฐานของอาคารชั้นนำมาจนถึงปัจจุบัน
อะไรคือข้อกำหนดของบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก?
เพื่อให้บรรลุมาตรฐานสำหรับบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก ประกอบไปด้วยเกณฑ์หลายประการ :
บริเวณของความร้อน: ความต้องการพลังงานความร้อนต่อหนึ่งพื้นที่ ที่สามารถให้ความร้อนได้ไม่เกิน 15 กิโลวัตต์ชั่วโมง/m2 ของบริเวณพื้นที่ใช้สอยต่อปี หรือ 10 วัตต์ของบริเวณพื้นที่ที่มีความต้องการสูงสุด ซึ่งถือเป็นสิ่งจำเป็นของบ้านทั่วไป
พลังงานหลัก: พลังงานทั้งหมดที่จำเป็นสำหรับการบริโภคทั้งหมดภายในประเทศ (ความร้อน น้ำร้อน และ ไฟฟ้าภายในประเทศ) ต้องไม่เกิน 60 กิโลวัตต์ชั่วโมง / กิโลเมตร ของพื้นที่ใช้สอยต่อปี
ลมไม่สามารถเข้าได้: บ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก แต่สามารถถ่ายเทอากาศได้ดี และ มีความเปลี่ยนแปลงของอากาศไม่เกิน 0.6 ต่อชั่วโมง ที่ระดับความดัน 50
ความอุ่นสบาย: บริเวณพื้นที่อยู่อาศัยควรมีความอุ่นสบายตลอดทั้งปี ไม่ควรเกิน 25 องศาเซลเซียส หรือ ไม่ควรเกิน 10 เปอร์เซ็นต์ของชั่วโมงในหนึ่งปี
การออกแบบที่อัจฉริยะสำหรับบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก
เพื่อให้บรรลุประสิทธิภาพ ผู้สร้างใช้หลักการการออกแบบแบบอัจฉริยะสำหรับบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก-ตัวอย่างเช่น การสร้างความมั่นใจว่า บ้านถูกออกแบบมาเพื่อสามารถรับแสงแดด หรือ สามารถหลบแสงแดดได้ดี ในเวลาที่เหมาะสม
ประสิทธิภาพที่สูงสุดของการใช้ฉนวนกันความร้อน คือ องค์ประกอบสำคัญของการสร้างบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก ซึ่งช่วยลดการสูญเสียหรือการปล่อยความร้อน เพื่อให้บ้านสามารถรักษาความอบอุ่นได้โดยไม่ต้องใช้พลังงานในการสร้างความร้อน เพียงแค่ทำให้เกิดความอบอุ่นก่อนที่อากาศบริสุทธิ์จะเข้าไปภายในห้อง
ฉนวนกันความร้อนร็อควูลทำจากหินภูเขาไฟที่ไม่ติดไฟ จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับการสร้างบ้านที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศภายนอก และถูกออกแบบมาให้เหมาะกับการใช้งานสำหรับอาคาร คงรูป และ มีคุณสมบัติในการยอมให้ไอระเหยผ่านได้ตลอดอายุการใช้งาน ปลอดภัยจากไฟไหม้
1 "25 Years Passive House – Interview with Dr. Wolfgang Feist", Passive House Institute